Pronouns <คำสรรพนาม> คือ คำที่ใช้แทนคำนาม (noun) สามารถใช้แทนชื่อคน สัตว์ สิ่งของ ชนิดของสรรพนามที่จำเป็นต้องทราบมี 3 ชนิด คือ
1.Personal Pronouns (บุรุษสรรพนาม)
2.Possessive Pronouns (สรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ)
3.Reflexive Pronouns (สรรพนามสะท้อน)
Personal Pronouns
Personal Pronouns คือ สรรพนามที่ใช้แทนบุคคล สัตว์ สิ่งของ แบ่งออกเป็น 2 รูป คือ รูปประธาน (Subject) และรูปกรรม (Object)
รูปประธาน จะทำหน้าที่เป็นประธาน คือ ตัวกระทำกริยา ตำแหน่งอยู่หน้ากริยา(Verb)
Personal Pronouns(รูปประธาน)
I เอกพจน์
You เอกพจน์
He เอกพจน์
She เอกพจน์
It เอกพจน์
We พหูพจน์
You พหูพจน์
They พหูพจน์
ตัวอย่าง
Harry and Ron are good students.They get prizes every year.
แฮร์รี่และรอนเป็นเด็กดี พวกเขาได้รับรางวัลทุกปี
Hermione is tall.She is 167 cm..
เฮอร์ไมโอนีสูง เธอสูง 167 ซม.
Personal Pronouns (รูปกรรม)
me (ฉัน) เอกพจน์
you (คุณ ท่าน) เอกพจน์
him (เขาผู้ชาย) เอกพจน์
her (เขาผู้หญิง) เอกพจน์
it (มัน) เอกพจน์
us (พวกเขา) พหูพจน์
you (พวกคุณ) พหูพจน์
them (พวกเขา) พหูพจน์
ตัวอย่าง
I give Harry a shirt.Ron gives him a tie.
ฉันให้เสื้อเชิ้ตกับแฮร์รี่ รอนให้เนคไทกับเขา
My mother hits me.
แม่ตีฉัน
Possessive Pronouns (สรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ)
Possessive Pronouns คือ สรรพนามที่ให้ความหมายว่า เป็นเจ้าของคำนามนั้น
ตัวอย่าง
This book is mine.
That skirt is hers.
การใช้สรรพนามชนิดนี้จะต้องมีการกล่าวถึงคำนามมาก่อนล่วงหน้าเสมอ
Possessive Pronouns
mine (ของฉัน) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 1
yours (ของคุณ) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 2
his (ของเขาผู้ชาย) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 3
hers (ของเขาผู้หญิง) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 3
ours (ของเรา) พหูพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 1
yours (ของพวกคุณ) พหูพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 2
theirs (ของพวกเขา) พหูพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 3
ยังมีการแสดงความเป็นเจ้าของอีกอย่างหนึ่งที่มีลักษณะเหมือน Possessive Pronouns คือ Possessive Adjective แต่จะทำหน้าที่ขยายคำนามที่ตามหลังมา
ตัวอย่าง
This is her pen.
My ruler is long.
Possesive Adjectives
my (ของฉัน) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 1
your (ของคุณ) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 2
his (ของเขาผู้ชาย) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 3
her (ของเขาผู้หญิง) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 3
its (ของมัน) เอกพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 3
our (ของเรา) พหูพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 1
your (ของคุณ) พหูพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 2
theirs (ของเขา) พหูพจน์ สรรพนามบุรุษที่ 3
เปรียบเทียบระหว่าง Possessive Pronouns และ Possessive Adjective
This book is mine.
This is my book.
This skirt is hers.
This is her skirt.
ข้อสังเกต
หลัง Possessive Adjective จะต้องมีคำนามตามหลังเสมอและ Possessive Pronoun จะต้องมีคำนามนำหน้าเสมอ และ his จะมีรูปเหมือนกัน ถ้ามีคำนามตามหลังจะเป็น Adjective ถ้ามีคำนามอยู่หน้าจะเป็น Pronouns
Reflexive Pronouns
สรรพนามสะท้อน คือ สรรพนามที่สะท้อนเข้าหาตัว หมายถึงประธานและกรรมเป็นคนๆเดียวกัน Reflexive Pronouns คือ สรรพนามที่ลงท้ายด้วย self ใช้กับเอกพจน์ selves ใช้กับพหูพจน์
myself (เอกพจน์)
yourself (เอกพจน์)
himself (เอกพจน์)
herself (เอกพจน์)
itself (เอกพจน์)
ourselves (พหูพจน์)
yourselves (พหูพจน์)
themselves (พหูพจน์)
ตัวอย่าง
She cuts herself, when she is cooking.
I saw myself in the mirror.
He serves himself at KFC.
วันเสาร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551
วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551
There is/There are
There is = มี
There is (มี) ใช้กับคำนามเอกพจน์(Singular nouns)
ตัวอย่าง
There is a box on the table.
There is a bird on the tree.
There is a cup of coffee.
There are = มี
There are (มี) ใช้กับคำนามพหูพจน์(Plural nouns)
ตัวอย่าง
There are many fruits on the table.
There are three cups of coffee.
There are two cars at the corner.
There is/There are ในประโยคคำถาม
รูปแบบ Is,Are + there................?
เมื่อต้องการจะเปลี่ยนรูปแบบประโยค there is/there are ให้เป็นประโยคคำถาม ให้สลับตำแหน่งด้วยการนำ Is/Are มาไว้หน้า there แล้วใส่เครื่องหมาย ?(Question mark)
ตัวอย่าง
There is a box on the table.(บอกเล่า)
Is there a box on the table?(คำถาม)
There are three cups of coffee.(บอกเล่า)
Are there three cups of coffee?(คำถาม)
การตอบประโยคคำถาม Is there........?/Are there.........?
การตอบประโยคคำถาม Is there และ Are there จะตอบด้วย Yes หรือ No ถ้าตอบด้วย Yes ต้องตามด้วยประโยคบอกเล่า ถ้าตอบด้วย No ต้องตามด้วยประโยคปฏิเสธ
ตัวอย่าง
Are there three books on the table?
No,there aren't.
Is there a bird on the tree?
Yes,there is.
Is there a fish in the tank?
No,there aren't.
There is (มี) ใช้กับคำนามเอกพจน์(Singular nouns)
ตัวอย่าง
There is a box on the table.
There is a bird on the tree.
There is a cup of coffee.
There are = มี
There are (มี) ใช้กับคำนามพหูพจน์(Plural nouns)
ตัวอย่าง
There are many fruits on the table.
There are three cups of coffee.
There are two cars at the corner.
There is/There are ในประโยคคำถาม
รูปแบบ Is,Are + there................?
เมื่อต้องการจะเปลี่ยนรูปแบบประโยค there is/there are ให้เป็นประโยคคำถาม ให้สลับตำแหน่งด้วยการนำ Is/Are มาไว้หน้า there แล้วใส่เครื่องหมาย ?(Question mark)
ตัวอย่าง
There is a box on the table.(บอกเล่า)
Is there a box on the table?(คำถาม)
There are three cups of coffee.(บอกเล่า)
Are there three cups of coffee?(คำถาม)
การตอบประโยคคำถาม Is there........?/Are there.........?
การตอบประโยคคำถาม Is there และ Are there จะตอบด้วย Yes หรือ No ถ้าตอบด้วย Yes ต้องตามด้วยประโยคบอกเล่า ถ้าตอบด้วย No ต้องตามด้วยประโยคปฏิเสธ
ตัวอย่าง
Are there three books on the table?
No,there aren't.
Is there a bird on the tree?
Yes,there is.
Is there a fish in the tank?
No,there aren't.
วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
Auxiliary Verbs and Greeting
Auxiliary Verbs
กริยาช่วยมีด้วยกันทั้งหมด 24 ตัวดังนี้
รูปปกติ,รูปปฏิเสธ
is,isn't
am,am not
are,aren't
was,wasn't
were,weren't
do,don't
does,doesn't
did,didn't
has,hasn't
have,haven't
had,hadn't
can,can't
could,couldn't
may,mayn't
might,mightn't
will,won't
would,wouldn't
shall,shan't
should,shouldn't
must,mustn't
need,needn't
dare,daren't
ought,oughtn't
used to,usedn't to
verb to be ได้แก่คำว่า is, am, are, was, were แปลว่า"เป็น, อยู่, คือ"
be เป็นรูปเดิมเมื่อกระจายรูปจะได้เป็น is,am,are เปลี่ยนเป็นช่องที่สองคือ was were และเปลี่ยนเป็นช่องที่สามคือ beenใช้กับ Present tense (ปัจจุบันกาล)
is ใช้กับประธานเอกพจน์
am ใช้กับประธานคำว่า Iare ใช้กับประธานพหูจน์ใช้กับ Past tense (อดีตกาล)
was ใช้กับประธานเอกพจน์
wereใช้กับประธานพหูพจน์
หน้าที่ของ verb to be
1.ทำหน้าที่ช่วยกริยาตัวอื่นในประโยค continuous tense และประโยค Passive voice
They are watching tv.
She was writing to her parents.
A dog was killed by bad man.
2.ใช้กับประโยคที่มีคำนาม (noun) หรือคำคุณศัพท์ (adjective) ตามหลัง
We are students.
3.ใช้กับประโยคขอร้องและคำสั่ง(ในรูปของ be) เช่น
Be careful!
Be gentle!
Verb to do
ได้แก่คำว่า do, does, did
ใช้กับ Present tense (ปัจจุบันกาล)
does ใช้กับประธานเอกพจน์
do ใช้กับประธานพหูพจน์
ใช้กับ Past tense (อดีตกาล)
did ใช้ได้ทั้งประธานเอกพจน์และประธานพหูพจน์
Verb to do ใช้กับ present Simple หรือ past Simple เมื่อเราต้องการเปลี่ยนจากประโยคบอกเล่าเป็นประโยคคำถามและประโยคปฎิเสธ
Present Simple
She goes to school by bus. She doesn't go to school by bus.
Does she go to school by bus?
Past Simple
Dum went to the post office yesterday. Dum didn't go to the post office yesterday.
Did Dum go to the post office yesterday?
Note: เมื่อเอา Verb to do เข้ามาช่วยกริยาจะต้องเป็น V1เสมอ
Verb to have
ได้แก่คำว่า has,have,had
has ใช้กับประธานเอกพจน์
have ใช้กับประธานพหูพจน์
had ใช้ได้ทั้งประธานเอกพจน์และพหูพจน์
ในรูปของ past
1. เราจะใช้กับ Present Perfect Tense และ Past Perfect tense เช่น
Frank has seen the rainbow.
Frank hasn't seen the rainbow.
Has Frank seen the rainbow?
They have watched the movie.
They haven't watched the movie.
Have they watched the movie?
2. Verb to have ที่เป็นกริยาแท้แปลว่า "มี" "รับประธาน"เช่น
I have a new dress.
I have lunch early every day.
เมื่อต้องการทำเป็นประโยคปฎิเสธและคำถามให้เอา Verb to do มาช่วยเช่น
We don't have a new home.
Do we have a new home?
can could แปลว่า "สามารถ"
1.ใช้กล่าวถึงความสามารถว่าสามารถทำสิ่งนี้สิ่งนั้นได้เช่น
I can play the piano.
I can speak French.
ในรูปประโยคปฎิเสธและคำถามสามารถใช้ can ได้เลยเช่น
She can't drive.Can you drive?
2.เราจะไม่ใชั can กับ infinitive หรือ participles แต่เมื่อจำเป็นเราจะใช้คำอื่นแทนเช่น
Are you be able to go home late?
She will be able to drive soon.
3.could เป็น past ของ can เราใช้ could สำหรับความสามารถทั่วไป หรือการอนุญาตเช่น
She could speak three languages when she was five.
He finished his home work.
He could go out to play.
4. เราใช้ can และ could
4.1 กับความสามารถ (ability)
I can use a computer.
4.2 การขอหรือการให้อนุญาต
Can I use your bicycle?
You can leave early today.
แต่ถ้าเป็นแบบสุภาพหรือเป็นทางการเราจะใช้ could เช่น
Could you hand me that book,please?
4.3 การขอร้อง (requests)
Can you .... ?
Could you...?
สุภาพกว่า Do you think you could...?
Can you take this bag?
Could you loan a hundred baht?
Do you think you could help me move this box?
4.4 เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือ (offers) เช่น
Can I turn the air on for you ?
4.5 พูดถึงความเป็นไปได้และคาดคะเนในสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น (possibility and probability)
ใช้ can กับสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ เช่น
This road can be dangerous at night.
may might
1.ใช้กับการพูดถึงการมีโอกาสของบางสิ่งบางทีอาจเป็นจริงหรืออาจจะเกิดขึ้นเช่น
We may take a day off next week.
He might call me tonight.
2. might ไม่ได้เป็น past ของ may เราจะใช้ might เมื่อเรามีโอกาสที่น้อยกว่า may เช่น
I may go to visit my parents in this weekend. (บางทีโอกาสจะเป็น 50%)
Jane might go with me. (บางทีโอกาสจะเป็น 30% )
3.การใช้ may/might กับ have ใช้แสดงการคาดคะเนที่อาจจะเกิดขึ้นในอดีต
may/might + have +V3
She may have gone out when I phoned her.
A: I can't find my book.
B:You might have left it at school.
4. ใช้ may might ในการขออนุญาตเช่น
May I sit here?
I wonder if I might have another cup of coffee?
5. ใช้ may ในการอนุญาตและไม่อนุญาตเช่น
Children may not play alone in the pool.
A: May I turn the TV on?
B: Yes, of course you may.
will would
will
1.ใช้เมื่อเราพูดถึงอนาคต
I will go to school early tomorrow.
2.ใช้ will แสดงการขอร้องอย่างสุภาพเช่น
Will you open the door for me please?
would เป็นอดีตของคำว่า will
1.ใช้ในประโยคขอร้องที่สุภาพกว่า will
Would you turn the volume down please?
2.ใช้กับประโยค Would you mind if....
Would you mind if I smoke?
3. ใช้ would กับคำ rather แปลว่า ควรจะ....ดีกว่า
ตัวย่อ 'd rather ใช้ในการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
I'd rather study harder this year than go to summer school.
4. ใช้ would กับ like to
ในรูปคำถามเป็นการเชื้อเชิญเช่น
Would you like to go dancing with me?
shall should
shall
1.ใช้ในประโยคอนาคตกาล (Future tense) ตามปกติแล้ว shall ใช้กับ ประธาน I และ We
2. ใช้ในการเสนอหรือให้คำแนะนำ และใช้เมื่อขอคำแนะนำเราจะใช้
Shall I...?
Shall we ...?
Shall I carry your books?
Shall we go shopping?
Should
1.ใช้เมื่อพูดเกี่ยวกับภาระหน้าที่และความคิดเห็นที่ใกล้เคียงกันเช่น
People should be careful about food.
She shouldn't act like that in public.
2. ใช้ Should I....? สำหรับการขอคำแนะนำ การยื่นมือช่วยเหลือ เช่น
Should I go out with him ?
Should I help you clean up this area?
3. ใช้เมื่อกล่าวถึงสิ่งที่ควรจะทำแปลว่า"ควรจะ" เช่น
You work all day.
You should take a rest.
4. ใช้ should have +V3 ใช้พูดเกี่ยวกับอดีตโครงสร้างนี้ใช้กับสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นหรืออาจจะเกิดหรือไม่ได้เกิดขึ้นเช่น
They should have arrived here by now.
I should have written a note for him
5. ใช้กับประโยค if clause เช่น
If I had a lot of money, I would be happy.
must
แปลว่า "ต้อง"ตามด้วยกริยาช่องที่ 1มีหลักการใช้ดังนี้
1. ใช้แสดงความจำเป็นที่ต้องกระทำ
You must hand your homework in tomorrow.
2. ใช้ในการให้คำแนะนำหรือการสั่งกับตัวเราเองหรือกับบุคคลอื่นเช่น
He really must stop drinking.
You must sit there for two hours.
You mustn't talk in the classroom.
3. เราใช้ have to แทน must ได้
ความแตกต่างระหว่างการใช้ must และ have to
must เป็นการสั่งความจำเป็นมาจากบุคคลที่กำลังพูดหรือกำลังฟัง
have to พูดถึงความจำเป็นที่มาจากภายนอกบางทีอาจจะเพราะว่ากฎหมาย กฏระเบียบหรือเป็นข้อตกลงเช่น
I must go home now.
It's going to rain soon.
You must stop smoking.
I have to stop smoking because I'm sick.
mustn't ใช้บอกบุคคลไม่ให้ทำสิ่งนั้นสิ่งนี้
haven"t got to, don't have to ใช้พูดในบางสิ่งที่ไม่สำคัญเช่น
You mustn't tell Dang. มีความหมายว่า (Don't tell Dang.)
You don't have to tell your wife. หมายความว่า (You can if you like, but it is not necessary.)
4. ใช้ must เมื่อพูดถึงสิ่งที่เราแน่ใจเช่น
The boy keeps crying.
He must be really sick.
need
เป็นได้ทั้งกริยาช่วยและกริยาแท้
1. เมื่อใช้เป็นกริยาแท้ need + to +V1
He needs to clean his car.
You need to water the flowers.
ถ้าต้องการทำเป็นประโยคปฎิเสธและประโยคคำถาม ให้เอา Verb to do มาช่วย
You don't need to help him.
Do we need to reserve the room?
2.เมื่อใช้เป็นกริยาช่วยเราไม่ค่อยใช้เท่าไหร่ซึ่งส่วนใหญ่จะเห็นการใช้needn't เช่น
You needn't explain. I understand.
3. การใช้ needn't + have +V3 แสดงถึงการกระทำที่ไม่จำเป็นต้องทำในอดีตแต่ทำไปแล้วเป็นการเสียเวลาเปล่า
Your mother needn't have cooked for us. We ate out.
dare
แปลว่า "กล้า "เป็นได้ทั้งกริยาช่วยและกริยาแท้
1. เป็นกริยาแท้ dare + to +V1และเมื่อต้องการทำเป็นประโยคปฎิเสธและประโยคคำถามให้เอา Verb to do มาช่วยเช่น
She dare to say what is right.
I doesn't dare to tell him the truth.
2. เป็นกริยาช่วยเราไม่นิยมใช้เป็นประโยคบอกเล่าแต่เราจะใช้ daren't กับคนบางคนไม่กล้าทำบางสิ่งบางอย่างในขณะที่พูด
I daren't look.
I daren't touch it.
ought
แปลว่า "ควรจะ" มีหลักการใช้ดังนี้
1.ใช้ ought ตามด้วย to เสมอ
ใช้ในการแนะนำสิ่งที่ควรทำให้กับคนอื่นรวมทั้งตัวเราเองด้วยมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า Should เช่น
I really ought to teach her English.
People ought not to cross the road over there.
2.ใช้ ought to+ have +V3 พูดถึงสิ่งที่ควรทำในอดีตแต่ไม่ได้ทำ
You ought to have phoned him yesterday.
used to
แปลว่า "เคย"ปัจจุบันเราไม่นิยมใช้ used to
ในรูปแบบของกริยาช่วยแล้วเราใช้เฉพาะเป็นกริยาแท้พูดถึงสิ่งที่ทำเป็นนิสัยในอดีตซึ่งปัจจุบันได้หยุดไปแล้วเช่น
I used to eat a lot.
She used to be shy.
เมื่อเป็นประโยคคำถามและประโยคปฎิเสธเราจะเอา Verb to do เข้ามาช่วย
เมื่อเอา Verb to do จะต้องเปลี่ยน use ให้เป็นกริยาช่องที่ 1
Did you use to have a dog?
I didn't use to watch the news. (เป็นประโยคปฎิเสธเรานิยมใช้ never used to )
I never used to watch the news.
(be) used to +noun / ing แปลว่า "เคยชิน"
I am used to driving at night.
She is used to the cold weather.
Greeting
การพบปะกันในชีวิตประจำวันตามปกติแล้วจะมีการทักทายกันตามธรรมเนียม สำหรับประชาชนที่พูดภาษาอังกฤษ มักจะใช้คำหรือข้อความที่มีความหมายว่า “สวัสดี” ในช่วงเวลาและกับบุคคลที่แตกต่างกันดังนี้
Good morning
Good morning แปลว่า สวัสดี (ตอนเช้า) ใช้กับบุคคลโดยทั่วไปตั้งแต่เวลาเช้าหรือหลังเที่ยงคืนถึงเวลาเที่ยงวัน หรือเวลาอาหารกลางวัน การออกเสียง Good มักจะเบาจนบางครั้งได้ยินแต่ morning สำหรับผู้ตอบนั้นก็กล่าวว่า Good morning ในทำนองเดียวกัน เช่น
Harry : Good morning Ron.
Ron : Good morning Harry.
Good afternoon
Good afternoon แปลว่า สวัสดี (ตอนบ่าย) ใช้กับบุคคลโดยทั่ว ๆ ไปตั้งแต่หลังเวลาเที่ยงวันหรือเวลาอาหารกลางวันจนไปถึงเวลาพระอาทิตย์ตกดินหรือราวหกโมงเย็น การออกเสียงคำทักทายนี้ออกเสียงเบาที่ Good เช่นเดียวกับ Good morning สำหรับผู้ตอบนั้นก็กล่าวคำว่า Good afternoon เช่นเดียวกับผู้ทักทาย เช่น
Hermiony : Good afternoon Harry.
Harry : Good afternoon Hermiony.
Good evening
Good evening แปลว่า สวัสดี (ตอนค่ำ) ใช้กับบุคคลโดยทั่ว ๆ ไปตั้งแต่เวลาหลังหกโมงเย็นไปแล้ว คำทักทายนี้ออกเสียงเบาที่ Good เช่นเดียวกับ Good morning และ Good afternoon สำหรับผู้ตอบนั้นก็กล่าว Good evening เช่นเดียวกับผู้ทักทาย เช่น
Harry : Good evening Hermiony
Hermiony : Good evening Harry.
Hello/Hi
Hello และ Hi แปลว่า สวัสดี ใช้กับบุคคลที่สนิทเป็นกันเองหรือในการทักทายที่มิได้เป็นพิธีการ เราจะไม่ใช้กับผู้ใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามอาจใช้กับพ่อแม่ หรือผู้ที่สนิทกันได้ในบางโอกาส สำหรับการตอบนั้น ผู้ตอบก็กล่าวเช่นเดียวกับผู้ทักทาย เช่น
Hermiony : Hi Ron.
Ron : Hi Hermiony.
How do you do?
How do you do? เป็นข้อความที่ใช้ทักทายกันเฉพาะกับคนที่พบหรือรู้จักกันเป็นครั้งแรกใช้ทั้งกลางวันและกลางคืน ข้อความนี้เป็นรูปคำถามที่มีความหมายว่า “สวัสดี” ซึ่งไม่ต้องการคำตอบ ดังนั้นผู้ตอบจึงต้องกล่าวตอบโดยใช้ How do you do? เช่นเดียวกับผู้ทักทาย
How are you?
การถามทุกข์สุขหลังจากการกล่าวทักทายกันด้วยคำว่า “สวัสดี” แล้ว ประชาชนที่พูดภาษาอังกฤษมักจะถือเป็นธรรมเนียมที่จะต้องถามทุกข์สุขของอีกฝ่ายหนึ่งติดตามมา โดยกล่าวข้อความต่อไปนี้
How are you? (คุณเป็นอย่างไร)
How are you…………………?
(today)
(this morning)
(this afternoon)
(this evening)
How have you been? ใช้ในกรณีไม่ได้พบกันนาน ๆ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับ How are you? บางครั้งก็มีการเพิ่มข้อความแสดงเวลาที่ถามเช่นเดียวกัน
สำหรับการตอบนั้น ตอบได้หลายอย่าง เท่าที่นิยมมีดังนี้
I’m fine.
(very well)
(quite well)
(O.K.)
ผู้ตอบอาจเพิ่มข้อความแสดงการขอบคุณ และถามตอบผู้ทักทาย
I’m fine, thank you and you?
(Thank you and how are you?)
(Thank you and how have you been?)
(ผมสบายดี ขอบคุณครับ แล้วคุณล่ะเป็นอย่างไรบ้าง)
Fine, thank you and you?
ในบางครั้งผู้ตอบอาจไม่สบาย ก็ควรตอบด้วยข้อความต่อไปนี้
ไม่ค่อยสบาย
Not so well.
Not very well.
ผู้ตอบอาจบอกเหตุผลหรืออาการเจ็บป่วยเพิ่มเติม เช่น
Not so well. I have a cold.
ไม่ค่อยสบาย เป็นหวัด
เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งทราบว่าผู้ที่เราคุ้นเคยด้วยไม่สบาย ควรแสดงน้ำใจด้วยการพูดให้กำลังใจดังนี้
I hope you are better soon.
ฉันหวังว่าคุณจะสบายขึ้นในเร็ว ๆ นี้
I’m sorry to hear it.
ผมเสียใจด้วยที่ทราบเช่นนั้น
ตัวอย่างสถานการณ์
Dumbledore : “Good morning.”
Arther : “Good morning. How are you?”
Dumbledore : “Fine, thanks and you?
Arther : “Very well, thank you.”
Voldemort : “Hello, Dumbledore.”
Dumbledore : “Hi, Voldemort. How are you?”
Voldemort : “Not so well. I have headache.”
Dumbledore : “I hope you feel better soon.”
Voldemort : “Thank you.”
กริยาช่วยมีด้วยกันทั้งหมด 24 ตัวดังนี้
รูปปกติ,รูปปฏิเสธ
is,isn't
am,am not
are,aren't
was,wasn't
were,weren't
do,don't
does,doesn't
did,didn't
has,hasn't
have,haven't
had,hadn't
can,can't
could,couldn't
may,mayn't
might,mightn't
will,won't
would,wouldn't
shall,shan't
should,shouldn't
must,mustn't
need,needn't
dare,daren't
ought,oughtn't
used to,usedn't to
verb to be ได้แก่คำว่า is, am, are, was, were แปลว่า"เป็น, อยู่, คือ"
be เป็นรูปเดิมเมื่อกระจายรูปจะได้เป็น is,am,are เปลี่ยนเป็นช่องที่สองคือ was were และเปลี่ยนเป็นช่องที่สามคือ beenใช้กับ Present tense (ปัจจุบันกาล)
is ใช้กับประธานเอกพจน์
am ใช้กับประธานคำว่า Iare ใช้กับประธานพหูจน์ใช้กับ Past tense (อดีตกาล)
was ใช้กับประธานเอกพจน์
wereใช้กับประธานพหูพจน์
หน้าที่ของ verb to be
1.ทำหน้าที่ช่วยกริยาตัวอื่นในประโยค continuous tense และประโยค Passive voice
They are watching tv.
She was writing to her parents.
A dog was killed by bad man.
2.ใช้กับประโยคที่มีคำนาม (noun) หรือคำคุณศัพท์ (adjective) ตามหลัง
We are students.
3.ใช้กับประโยคขอร้องและคำสั่ง(ในรูปของ be) เช่น
Be careful!
Be gentle!
Verb to do
ได้แก่คำว่า do, does, did
ใช้กับ Present tense (ปัจจุบันกาล)
does ใช้กับประธานเอกพจน์
do ใช้กับประธานพหูพจน์
ใช้กับ Past tense (อดีตกาล)
did ใช้ได้ทั้งประธานเอกพจน์และประธานพหูพจน์
Verb to do ใช้กับ present Simple หรือ past Simple เมื่อเราต้องการเปลี่ยนจากประโยคบอกเล่าเป็นประโยคคำถามและประโยคปฎิเสธ
Present Simple
She goes to school by bus. She doesn't go to school by bus.
Does she go to school by bus?
Past Simple
Dum went to the post office yesterday. Dum didn't go to the post office yesterday.
Did Dum go to the post office yesterday?
Note: เมื่อเอา Verb to do เข้ามาช่วยกริยาจะต้องเป็น V1เสมอ
Verb to have
ได้แก่คำว่า has,have,had
has ใช้กับประธานเอกพจน์
have ใช้กับประธานพหูพจน์
had ใช้ได้ทั้งประธานเอกพจน์และพหูพจน์
ในรูปของ past
1. เราจะใช้กับ Present Perfect Tense และ Past Perfect tense เช่น
Frank has seen the rainbow.
Frank hasn't seen the rainbow.
Has Frank seen the rainbow?
They have watched the movie.
They haven't watched the movie.
Have they watched the movie?
2. Verb to have ที่เป็นกริยาแท้แปลว่า "มี" "รับประธาน"เช่น
I have a new dress.
I have lunch early every day.
เมื่อต้องการทำเป็นประโยคปฎิเสธและคำถามให้เอา Verb to do มาช่วยเช่น
We don't have a new home.
Do we have a new home?
can could แปลว่า "สามารถ"
1.ใช้กล่าวถึงความสามารถว่าสามารถทำสิ่งนี้สิ่งนั้นได้เช่น
I can play the piano.
I can speak French.
ในรูปประโยคปฎิเสธและคำถามสามารถใช้ can ได้เลยเช่น
She can't drive.Can you drive?
2.เราจะไม่ใชั can กับ infinitive หรือ participles แต่เมื่อจำเป็นเราจะใช้คำอื่นแทนเช่น
Are you be able to go home late?
She will be able to drive soon.
3.could เป็น past ของ can เราใช้ could สำหรับความสามารถทั่วไป หรือการอนุญาตเช่น
She could speak three languages when she was five.
He finished his home work.
He could go out to play.
4. เราใช้ can และ could
4.1 กับความสามารถ (ability)
I can use a computer.
4.2 การขอหรือการให้อนุญาต
Can I use your bicycle?
You can leave early today.
แต่ถ้าเป็นแบบสุภาพหรือเป็นทางการเราจะใช้ could เช่น
Could you hand me that book,please?
4.3 การขอร้อง (requests)
Can you .... ?
Could you...?
สุภาพกว่า Do you think you could...?
Can you take this bag?
Could you loan a hundred baht?
Do you think you could help me move this box?
4.4 เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือ (offers) เช่น
Can I turn the air on for you ?
4.5 พูดถึงความเป็นไปได้และคาดคะเนในสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น (possibility and probability)
ใช้ can กับสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ เช่น
This road can be dangerous at night.
may might
1.ใช้กับการพูดถึงการมีโอกาสของบางสิ่งบางทีอาจเป็นจริงหรืออาจจะเกิดขึ้นเช่น
We may take a day off next week.
He might call me tonight.
2. might ไม่ได้เป็น past ของ may เราจะใช้ might เมื่อเรามีโอกาสที่น้อยกว่า may เช่น
I may go to visit my parents in this weekend. (บางทีโอกาสจะเป็น 50%)
Jane might go with me. (บางทีโอกาสจะเป็น 30% )
3.การใช้ may/might กับ have ใช้แสดงการคาดคะเนที่อาจจะเกิดขึ้นในอดีต
may/might + have +V3
She may have gone out when I phoned her.
A: I can't find my book.
B:You might have left it at school.
4. ใช้ may might ในการขออนุญาตเช่น
May I sit here?
I wonder if I might have another cup of coffee?
5. ใช้ may ในการอนุญาตและไม่อนุญาตเช่น
Children may not play alone in the pool.
A: May I turn the TV on?
B: Yes, of course you may.
will would
will
1.ใช้เมื่อเราพูดถึงอนาคต
I will go to school early tomorrow.
2.ใช้ will แสดงการขอร้องอย่างสุภาพเช่น
Will you open the door for me please?
would เป็นอดีตของคำว่า will
1.ใช้ในประโยคขอร้องที่สุภาพกว่า will
Would you turn the volume down please?
2.ใช้กับประโยค Would you mind if....
Would you mind if I smoke?
3. ใช้ would กับคำ rather แปลว่า ควรจะ....ดีกว่า
ตัวย่อ 'd rather ใช้ในการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
I'd rather study harder this year than go to summer school.
4. ใช้ would กับ like to
ในรูปคำถามเป็นการเชื้อเชิญเช่น
Would you like to go dancing with me?
shall should
shall
1.ใช้ในประโยคอนาคตกาล (Future tense) ตามปกติแล้ว shall ใช้กับ ประธาน I และ We
2. ใช้ในการเสนอหรือให้คำแนะนำ และใช้เมื่อขอคำแนะนำเราจะใช้
Shall I...?
Shall we ...?
Shall I carry your books?
Shall we go shopping?
Should
1.ใช้เมื่อพูดเกี่ยวกับภาระหน้าที่และความคิดเห็นที่ใกล้เคียงกันเช่น
People should be careful about food.
She shouldn't act like that in public.
2. ใช้ Should I....? สำหรับการขอคำแนะนำ การยื่นมือช่วยเหลือ เช่น
Should I go out with him ?
Should I help you clean up this area?
3. ใช้เมื่อกล่าวถึงสิ่งที่ควรจะทำแปลว่า"ควรจะ" เช่น
You work all day.
You should take a rest.
4. ใช้ should have +V3 ใช้พูดเกี่ยวกับอดีตโครงสร้างนี้ใช้กับสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นหรืออาจจะเกิดหรือไม่ได้เกิดขึ้นเช่น
They should have arrived here by now.
I should have written a note for him
5. ใช้กับประโยค if clause เช่น
If I had a lot of money, I would be happy.
must
แปลว่า "ต้อง"ตามด้วยกริยาช่องที่ 1มีหลักการใช้ดังนี้
1. ใช้แสดงความจำเป็นที่ต้องกระทำ
You must hand your homework in tomorrow.
2. ใช้ในการให้คำแนะนำหรือการสั่งกับตัวเราเองหรือกับบุคคลอื่นเช่น
He really must stop drinking.
You must sit there for two hours.
You mustn't talk in the classroom.
3. เราใช้ have to แทน must ได้
ความแตกต่างระหว่างการใช้ must และ have to
must เป็นการสั่งความจำเป็นมาจากบุคคลที่กำลังพูดหรือกำลังฟัง
have to พูดถึงความจำเป็นที่มาจากภายนอกบางทีอาจจะเพราะว่ากฎหมาย กฏระเบียบหรือเป็นข้อตกลงเช่น
I must go home now.
It's going to rain soon.
You must stop smoking.
I have to stop smoking because I'm sick.
mustn't ใช้บอกบุคคลไม่ให้ทำสิ่งนั้นสิ่งนี้
haven"t got to, don't have to ใช้พูดในบางสิ่งที่ไม่สำคัญเช่น
You mustn't tell Dang. มีความหมายว่า (Don't tell Dang.)
You don't have to tell your wife. หมายความว่า (You can if you like, but it is not necessary.)
4. ใช้ must เมื่อพูดถึงสิ่งที่เราแน่ใจเช่น
The boy keeps crying.
He must be really sick.
need
เป็นได้ทั้งกริยาช่วยและกริยาแท้
1. เมื่อใช้เป็นกริยาแท้ need + to +V1
He needs to clean his car.
You need to water the flowers.
ถ้าต้องการทำเป็นประโยคปฎิเสธและประโยคคำถาม ให้เอา Verb to do มาช่วย
You don't need to help him.
Do we need to reserve the room?
2.เมื่อใช้เป็นกริยาช่วยเราไม่ค่อยใช้เท่าไหร่ซึ่งส่วนใหญ่จะเห็นการใช้needn't เช่น
You needn't explain. I understand.
3. การใช้ needn't + have +V3 แสดงถึงการกระทำที่ไม่จำเป็นต้องทำในอดีตแต่ทำไปแล้วเป็นการเสียเวลาเปล่า
Your mother needn't have cooked for us. We ate out.
dare
แปลว่า "กล้า "เป็นได้ทั้งกริยาช่วยและกริยาแท้
1. เป็นกริยาแท้ dare + to +V1และเมื่อต้องการทำเป็นประโยคปฎิเสธและประโยคคำถามให้เอา Verb to do มาช่วยเช่น
She dare to say what is right.
I doesn't dare to tell him the truth.
2. เป็นกริยาช่วยเราไม่นิยมใช้เป็นประโยคบอกเล่าแต่เราจะใช้ daren't กับคนบางคนไม่กล้าทำบางสิ่งบางอย่างในขณะที่พูด
I daren't look.
I daren't touch it.
ought
แปลว่า "ควรจะ" มีหลักการใช้ดังนี้
1.ใช้ ought ตามด้วย to เสมอ
ใช้ในการแนะนำสิ่งที่ควรทำให้กับคนอื่นรวมทั้งตัวเราเองด้วยมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า Should เช่น
I really ought to teach her English.
People ought not to cross the road over there.
2.ใช้ ought to+ have +V3 พูดถึงสิ่งที่ควรทำในอดีตแต่ไม่ได้ทำ
You ought to have phoned him yesterday.
used to
แปลว่า "เคย"ปัจจุบันเราไม่นิยมใช้ used to
ในรูปแบบของกริยาช่วยแล้วเราใช้เฉพาะเป็นกริยาแท้พูดถึงสิ่งที่ทำเป็นนิสัยในอดีตซึ่งปัจจุบันได้หยุดไปแล้วเช่น
I used to eat a lot.
She used to be shy.
เมื่อเป็นประโยคคำถามและประโยคปฎิเสธเราจะเอา Verb to do เข้ามาช่วย
เมื่อเอา Verb to do จะต้องเปลี่ยน use ให้เป็นกริยาช่องที่ 1
Did you use to have a dog?
I didn't use to watch the news. (เป็นประโยคปฎิเสธเรานิยมใช้ never used to )
I never used to watch the news.
(be) used to +noun / ing แปลว่า "เคยชิน"
I am used to driving at night.
She is used to the cold weather.
Greeting
การพบปะกันในชีวิตประจำวันตามปกติแล้วจะมีการทักทายกันตามธรรมเนียม สำหรับประชาชนที่พูดภาษาอังกฤษ มักจะใช้คำหรือข้อความที่มีความหมายว่า “สวัสดี” ในช่วงเวลาและกับบุคคลที่แตกต่างกันดังนี้
Good morning
Good morning แปลว่า สวัสดี (ตอนเช้า) ใช้กับบุคคลโดยทั่วไปตั้งแต่เวลาเช้าหรือหลังเที่ยงคืนถึงเวลาเที่ยงวัน หรือเวลาอาหารกลางวัน การออกเสียง Good มักจะเบาจนบางครั้งได้ยินแต่ morning สำหรับผู้ตอบนั้นก็กล่าวว่า Good morning ในทำนองเดียวกัน เช่น
Harry : Good morning Ron.
Ron : Good morning Harry.
Good afternoon
Good afternoon แปลว่า สวัสดี (ตอนบ่าย) ใช้กับบุคคลโดยทั่ว ๆ ไปตั้งแต่หลังเวลาเที่ยงวันหรือเวลาอาหารกลางวันจนไปถึงเวลาพระอาทิตย์ตกดินหรือราวหกโมงเย็น การออกเสียงคำทักทายนี้ออกเสียงเบาที่ Good เช่นเดียวกับ Good morning สำหรับผู้ตอบนั้นก็กล่าวคำว่า Good afternoon เช่นเดียวกับผู้ทักทาย เช่น
Hermiony : Good afternoon Harry.
Harry : Good afternoon Hermiony.
Good evening
Good evening แปลว่า สวัสดี (ตอนค่ำ) ใช้กับบุคคลโดยทั่ว ๆ ไปตั้งแต่เวลาหลังหกโมงเย็นไปแล้ว คำทักทายนี้ออกเสียงเบาที่ Good เช่นเดียวกับ Good morning และ Good afternoon สำหรับผู้ตอบนั้นก็กล่าว Good evening เช่นเดียวกับผู้ทักทาย เช่น
Harry : Good evening Hermiony
Hermiony : Good evening Harry.
Hello/Hi
Hello และ Hi แปลว่า สวัสดี ใช้กับบุคคลที่สนิทเป็นกันเองหรือในการทักทายที่มิได้เป็นพิธีการ เราจะไม่ใช้กับผู้ใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามอาจใช้กับพ่อแม่ หรือผู้ที่สนิทกันได้ในบางโอกาส สำหรับการตอบนั้น ผู้ตอบก็กล่าวเช่นเดียวกับผู้ทักทาย เช่น
Hermiony : Hi Ron.
Ron : Hi Hermiony.
How do you do?
How do you do? เป็นข้อความที่ใช้ทักทายกันเฉพาะกับคนที่พบหรือรู้จักกันเป็นครั้งแรกใช้ทั้งกลางวันและกลางคืน ข้อความนี้เป็นรูปคำถามที่มีความหมายว่า “สวัสดี” ซึ่งไม่ต้องการคำตอบ ดังนั้นผู้ตอบจึงต้องกล่าวตอบโดยใช้ How do you do? เช่นเดียวกับผู้ทักทาย
How are you?
การถามทุกข์สุขหลังจากการกล่าวทักทายกันด้วยคำว่า “สวัสดี” แล้ว ประชาชนที่พูดภาษาอังกฤษมักจะถือเป็นธรรมเนียมที่จะต้องถามทุกข์สุขของอีกฝ่ายหนึ่งติดตามมา โดยกล่าวข้อความต่อไปนี้
How are you? (คุณเป็นอย่างไร)
How are you…………………?
(today)
(this morning)
(this afternoon)
(this evening)
How have you been? ใช้ในกรณีไม่ได้พบกันนาน ๆ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับ How are you? บางครั้งก็มีการเพิ่มข้อความแสดงเวลาที่ถามเช่นเดียวกัน
สำหรับการตอบนั้น ตอบได้หลายอย่าง เท่าที่นิยมมีดังนี้
I’m fine.
(very well)
(quite well)
(O.K.)
ผู้ตอบอาจเพิ่มข้อความแสดงการขอบคุณ และถามตอบผู้ทักทาย
I’m fine, thank you and you?
(Thank you and how are you?)
(Thank you and how have you been?)
(ผมสบายดี ขอบคุณครับ แล้วคุณล่ะเป็นอย่างไรบ้าง)
Fine, thank you and you?
ในบางครั้งผู้ตอบอาจไม่สบาย ก็ควรตอบด้วยข้อความต่อไปนี้
ไม่ค่อยสบาย
Not so well.
Not very well.
ผู้ตอบอาจบอกเหตุผลหรืออาการเจ็บป่วยเพิ่มเติม เช่น
Not so well. I have a cold.
ไม่ค่อยสบาย เป็นหวัด
เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งทราบว่าผู้ที่เราคุ้นเคยด้วยไม่สบาย ควรแสดงน้ำใจด้วยการพูดให้กำลังใจดังนี้
I hope you are better soon.
ฉันหวังว่าคุณจะสบายขึ้นในเร็ว ๆ นี้
I’m sorry to hear it.
ผมเสียใจด้วยที่ทราบเช่นนั้น
ตัวอย่างสถานการณ์
Dumbledore : “Good morning.”
Arther : “Good morning. How are you?”
Dumbledore : “Fine, thanks and you?
Arther : “Very well, thank you.”
Voldemort : “Hello, Dumbledore.”
Dumbledore : “Hi, Voldemort. How are you?”
Voldemort : “Not so well. I have headache.”
Dumbledore : “I hope you feel better soon.”
Voldemort : “Thank you.”
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)